เรียนรู้
Learn
รวม 6 คำถามพบบ่อย สถานการณ์ของ แผ่นดินไหว x ประเทศไทย
ด้วยการสื่อสารที่ทำกันได้ง่ายขึ้นในปัจจุบัน เรื่องน่าสนใจไม่ว่าจะเล็กจะใหญ่ก็ส่งต่อถึงกันได้ง่ายๆ ผ่านทั้งทางสื่อหลักและสื่อโซเชียล แผ่นดินไหวและพิบัติภัยทางธรณีวิทยาก็เช่นกัน เกิดเมื่อไหร่ ไม่เกินข้ามคืน รู้กันทั่วตั้งแต่หัวบ้านยันท้ายซอย ซึ่งก็โอเคอยู่ ถ้าจะเม้าส์มอยส์กันพอแก้เหงา แต่ถ้าจะเอามากระตุกจิตกระชากใจ ให้กังวล โดยเฉพาะแผ่นดินไหวในประเทศไทย ผู้เขียนว่าเราน่าจะขาดทุน แน่นอนว่าคนไทยมีเรื่องแผ่นดินไหวให้คุยกันเป็นระยะๆ ทั้งแผ่นดินไหวใหญ่ในต่างประเทศ หรือแผ่นดินไหวขนาดปานกลางทั้งในและรอบบ้านของเรา แต่หลายครั้งที่บทสนทนาส่งท้าย ไปลงที่คำทำนายในอนาคต บ้านโน้นโดนอย่างนั้น ซักวันบ้านเราคงจะโดนอย่างนี้ ...
แบบฝึกหัด 15 การลำดับชั้นหิน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 5 โครงสร้างภายในโลก
1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา เติมในช่องว่างด้านซ้ายในแต่ละข้อที่กำหนดให้ เพื่ออธิบายความหมายของคำด้านซ้ายอย่างถูกต้องและเหมาะสม 1. ____ง. ก. เนื้อโลก (mantle) 2. ____ข. ข. แผ่นเปลือกโลกทวีป ...
แบบฝึกหัด 4 แผ่นดินไหว
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 6 ภูเขาไฟและหินอัคนี
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 14 ตะกอนและหินตะกอน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 2 แร่และหิน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าชื่อแร่ด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีระดับความแข็งตาม ...
แบบฝึกหัด 16 ธรณีประวัติ
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ (1) คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา ...
แบบฝึกหัด 13 ทะเลทราย
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 10 มหาสมุทรและพื้นทะเล
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายภูมิลักษ์ของพื้นมหาสมุทรทางด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 9 น้ำใต้ดิน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 8 น้ำผิวดิน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 18 กระบวนการแปรสภาพและหินแปร
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อ ...
แบบฝึกหัด 19 ทรัพยากรธรณี
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 11 คลื่นและกระบวนการชายฝั่ง
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ (1) คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา ...
การเวียน-ว่าย-ตาย-เกิด ของเปลือกโลก EP. 2 : ทวีปแตกร้าว
ผลจากการสู้กันระหว่าง การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความลึก (geothermal gradient) และ ความดันปิดล้อม (confining pressure) ทำให้ 1) เปลือกโลกเป็นของแข็ง 2) เนื้อโลกมีสถานะพลาสติก 3) แก่นโลกชั้นนอกเป็นของเหลว และ 4) แก่นโลกชั้นในเป็นของแข็ง ส่วน แมกมา ...
การเวียน-ว่าย-ตาย-เกิด ของเปลือกโลก EP. 1 : ทวีปเสถียร
สมัยก่อน ย้อนกลับไป 50-100 ปี หลังจากนักธรณีวิทยาเริ่มสำรวจการกระจายตัวของหิน แร่และภูมิประเทศได้มากพอ การประมวลผลและคำถามว่า “ทำไม” จึงเริ่มผุดขึ้น ทำไมสระบุรีต้องมีหินปูน ? ทำไมอีสานถึงเป็นหินทราย ? ทำไมภาคเหนือต้องเป็นเทือกเขาสลับที่ราบ ? ทำไมภาคกลางถึงลุ่มต่ำ ? ซึ่งต่อมา คำถามต่างๆ เหล่านี้ ...
ลมของโลก และการหมุนเวียน
ด้วย รังสีความร้อนที่แผ่มาจากดวงอาทิตย์ ทำให้แต่ละพื้นที่ของโลกมีอุณหภูมิแตกต่างกัน เกิดการไหลเวียนเปลี่ยนที่กันของวัสดุของโลก จำพวกก๊าซและของเหลว เช่น วัฏจักรของน้ำ การหมุนเวียนของกระแสน้ำในมหาสมุทร รวมทั้งการหมุนเวียนของ มวลอากาศ (air mass) หรือ ลม (wind) บนโลก โลกมีการหมุนเวียนของกระแสลมตลอดเวลา ซึ่งแนวคิดตั้งต้นที่ จอร์จ แฮดลีย์ ...
การแผ่รังสี ดวงอาทิตย์-โลก
ตามธรรมชาติ พลังงานความร้อนสามารถถ่ายเทจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ ทั้งแบบใช้และไม่ใช้ตัวกลางในการถ่ายเท ซึ่งนักวิทยาศาสตร์แบ่งกลไก การถ่ายเทความร้อน (heat transfer) ออกเป็น 3 ประเภท คือ เพิ่มเติม : แผ่นเปลือกโลก และกลไกการเคลื่อนที่ ในกรณีของ อากาศภาค (atmosphere) กลไกการถ่ายเทความร้อนในบรรยากาศจะอยู่ในรูปของ 1) ...
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ (air pollution) หมายถึง สภาวะของอากาศที่เจือปนไปด้วยสารพิษปริมาณสูงกว่าปกติ เป็นเวลานานพอที่จะทำให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์ พืช หรือทรัพย์สิน มลพิษทางอากาศ อาจเกิดเองตามธรรมชาติ เช่น ฝุ่นละอองจากลมพายุ ภูเขาไฟระเบิด ไฟไหม้ป่า หรือเกิดจากกิจกรรมมนุษย์ เช่น ไอเสียจากรถยนต์ โรงงานอุตสาหกรรม กิจกรรมด้านการเกษตร ...
พายุฝนฟ้าคะนอง (thunderstorm)
พายุ (storm) คือ ลมที่มีการเคลื่อนที่อย่างรุนแรง ซึ่งเกิดจากความแตกต่างอย่างมากของความกดอากาศระหว่าง 2 พื้นที่ (H หรือ L) โดยความรุนแรงของพายุตรวจวัดได้หลายรูปแบบ เช่น 1) เส้นผ่านศูนย์กลางของพายุ 2) ความเร็วที่ศูนย์กลาง 3) ความเร็วและทิศทางของการเคลื่อนตัว เป็นต้น ซึ่งพายุแบ่งย่อยเป็น ...
นิทาน x ระบบเตือนภัยสึนามิ
หลังจากเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิครั้งใหญ่ ทางฝั่งอันดามันของไทย เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 หลายประเทศรอบมหาสมุทรอินเดียรวมทั้งประเทศไทย ตัดสินใจติดตั้ง ระบบเตือนภัยสึนามิ (Tsunami Warning System, TWS) อย่างที่ฝรั่งเค้ามีกันทางฟากฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก โดยนอกเหนือจากกลไกการทำงานที่สลับซับซ้อนในทางเทคนิค หน้าตาระบบเตือนภัยที่ประชาชนทั่วไปพอจะคุ้นและเคยเห็นคือ ทุนลอยน้ำ (bouy) ที่ถูกปล่อยวางอยู่กลางทะเล ...
ดวงจันทร์ : สัพเพเหระ
ในบรรดา เทหวัตถุ (space object) นับล้านล้านดวง ที่มีอยู่ใน เอกภพ (universe) หรือ ระบบสุริยะ (solar system) ดวงจันทร์ (Moon) ถือได้ว่าเป็นเทหวัตถุที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด ด้วยความที่ใกล้ชิดกับโลก ดวงจันทร์จึงเป็นตัวละครที่ถูกมนุษย์เฝ้าสังเกตและศึกษามากที่สุดเป็นเงาตามตัว นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน องค์ความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับดวงจันทร์ถูกนำเสนอออกมาอย่างต่อเนื่อง ...
ธรณีวิทยา ผาแดง – นางไอ่
ผาแดง – นางไอ่ คือ ชื่อของหนึ่งในวรรณกรรมพื้นบ้าน ที่เล่าขานกันมานมนานในแถบภาคอีสาน (ตอนบน) พล๊อตเรื่องคร่าวๆ ก็จะประมาณว่า มีพญานาคหนุ่มรูปงามนาม ท้าวภังคี หลงรักสาวหน้าตาดีที่ชื่อ นางไอ่ ลูกสาวหัวแก้วหัวแหวนของ พญาขอม เจ้าผู้ครองนคร เมืองหนองหาน ซึ่งนางไอ่ก็มีคู่หมั้นคู่หมายอยู่แล้วชื่อ ท้าวผาแดง เมื่อหัวใจมันเรียกร้อง ...
สันเขา (ridge) – เนินเขา (rise) ใต้มหาสมุทร
หากใครเคยร่ำเรียนหรือแวะเวียนเข้ามาในวงการ ธรณีวิทยา (Geology) ธรณีแปรสัณฐาน (Tectonic) หรือ สมุทรศาสตร์ (Oceanography) ก็จะพอรู้ว่า พื้นมหาสมุทร (ocean floor) ไม่ได้มีรูปร่างเหมือนชามก๋วยเตี๋ยว ที่ขอบทวีปหรือริมฝั่งจะตื้นมากๆ และห่างออกไปกลางมหาสมุทรจะลึกที่สุด เพราะด้วยเทคนิคการหยั่งความลึกพื้นมหาสมุทรที่ทันสมัยในปัจจุบัน ทำให้นักวิทยาศาสตร์รู้ว่า บริเวณกลางมหาสมุทร จะมีแนวเทือกเขา (สันเขา ...
แบบฝึกหัด 17 การเปลี่ยนรูปร่างหิน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่สัมพันธ์กันกับส่วนต่างๆ ...
ถ้ำ และ ภูมิประเทศแบบคาสต์
การเกิดถ้ำ ถ้ำ (cave) หรือ ถ้ำหินปูน (limestone cave) เกิดจากการกัดกร่อนของ น้ำใต้ดิน (groundwater) ในขณะที่หินปูนอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำใต้ดิน ซึ่งโดยส่วนใหญ่น้ำใต้ดินจะมีคุณสมบัติเป็นกรดเจือจาง เนื่องจากฝนชะล้าง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากอากาศกลายเป็นกรดคาร์บอนิก หรือ ฝนกรด (acid rain) ...
คอยดูนะ !!! อีกหน่อย แผ่นเปลือกโลกอินเดีย-ออสเตรเลีย จะแยก เป็นแผ่นใครแผ่นมัน
จากทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน นักธรณีวิทยาพบว่าโลกประกอบด้วย แผ่นเปลือกโลก (tecotnic plate) ทั้งสิ้น 14 แผ่น ดังนี้ 1) แผ่นเปลือกโลกมหาสมุทร (oceanic plate) จำนวน 7 แผ่น ได้แก่ แผ่นแปซิฟิก (Pacific Plate) ...
สภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather) : คลื่นความร้อน – โพลาร์ วอร์เท็กซ์
สภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather) คือ ปรากฏการณ์ทาง สภาพอากาศ (weather) ในช่วงเวลาสั้นๆ (วัน-สัปดาห์) ที่ทำให้พื้นที่ใดๆ บนโลก มีสภาพอากาศรุนแรงในมิติของอุณหภูมิ ซึ่งผิดเพี้ยนไปจากสภาพเดิมๆ หรืออุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นที่ โดยแบ่งย่อยได้ 2 รูปแบบ คือ 1) สภาพอากาศร้อนสุดขั้ว ...
สนามแม่เหล็กโลก และการใช้ประโยชน์
0) กำเนิดสนามแม่เหล็กโลก จากการศึกษาโครงสร้างภายในโลก นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า แก่นโลกชั้นนอก (outer core) มีสถานะเป็นของเหลว และมีธาตุเหล็กซึ่งเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี เป็นองค์ประกอบสำคัญของแก่นโลก และเนื่องจากการหมุนรอบตัวเองของโลก ทำให้ของเหลวในแก่นโลกชั้นนอกไหลเวียน (Jacobson, 1975) และสร้าง สนามแม่เหล็ก (Earth’s magnetic field) ตามหลักการพื้นฐานที่นำเสนอโดยไมเคิล ...
แบบฝึกหัด 1 เอกภพและโลก
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อ ...
รู้จัก “หิน ดำตับเป็ด” เห็นปุ๊บ-แก่ปั๊บ
หากอ่านแค่ชื่อบทความ หลายท่านคงจะตงิดอยู่ในใจว่า เรียนมาตั้งแต่เด็กยันโต คุณครูก็สอนแค่ หิน (rock) 3 ชนิด 1) หินอัคนี (igneous rock) 2) หินตะกอน (sedimentary rock) และ 3) หินแปร (metarmorphic ...
พายุ หมุนเขตร้อน
เรียบเรียง : ศิริลักษณ์ หล่อชื่นวงศ์ และ สันติ ภัยหลบลี้ พายุหมุนเขตร้อน (tropical cyclone) คือ พายุ ที่ก่อตัวในมหาสมุทรเขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน (ละติจูด 30oN – 30oS) ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีอุณหภูมิผิวน้ำทะเลสูงกว่า 26.5 oC ...
เมฆ . หมอก . น้ำค้าง
เมฆ เมฆ (clouds) คือ กลุ่มละอองน้ำ (water droplet) ที่จับตัวกับแกน หรือ นิวเคลียสควบแน่น (condensation nuclei) หลากหลายชนิด เช่น ฝุ่นควัน ละอองเกษร ละอองเกลือทะเล หรือแม้กระทั่งอยุภาคมลพิษต่างๆ ซึ่งเมฆจะเกิดในสภาวะเมื่ออากาศอิ่มตัว (มีความชื้นสัมพัทธ์ ...
ชนิดของ ลม
ลม (Wind) คือ การเคลื่อนท่ีของกระแสอากาศแนวราบขนานกับพื้นผิวโลก สืบเนื่องจากความสามารถในการดูดซับรังสีจากดวงอาทิตย์ของแต่ละพื้นที่ไม่เท่ากัน ทำให้อากาศที่อยู่เหนือพื้นที่ดังกล่าวมีอุณหภูมิต่างกัน อากาศเกิดการหด-ขยายแตกต่างกัน อากาศร้อนจะลอยตัวสูงขึ้น ทำให้อากาศเย็นในบริเวณข้างเคียงเข้าไปแทนที่ ทำให้ความกดอากาศต่างกันในแต่ละพื้นที่ เกิดเป็น ความกดอากาศสูง (H) และ หย่อมความกดอากาศต่ำ (L) พื้นที่ที่มีอุณหภูมิต่ำ-สูง จะมีความกดอากาศสูง-ต่ำ ดังนั้น ความแตกต่างของอุณหภูมิและความกดอากาศของพื้นที่สองแห่ง ...
จัดหมวดหมู่คำศัพท์ : ธรณีภาค เปลือกโลก ฐานธรณีภาค เนื้อโลก มัชฌิมาภาค แก่นโลก ฯลฯ
เชื่อว่าหลายๆ คนที่เคยเรียนเรื่อง โครงสร้างภายในโลก (Earth’s Interior) ผ่านมา คงจะมีคำศัพท์หรือตัวละครอยู่ในหัวติดมาบ้างพอสมควร ไม่ว่าจะเป็น เปลือกโลก เนื้อโลก แมนเทิล ธรณีภาค ฐานธรณีภาค มัชฌิมาภาค เปลือกโลกชั้นนอก เปลือกโลกชั้นใน หรือแม่กระทั่ง เปลือกโลกเฉยๆ ปัญหาสาธารณะที่ทุกคนจะมีร่วมกันของคนที่ผ่านหลักสูตรนี้มาก็คือ สรุปแล้วคำพวกนี้มันจัดหมวดหมู่กันอยู่แบบไหน ...
แบบฝึกหัด 3 ธรณีแปรสัณฐาน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 12 ธารน้ำแข็ง
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
ภัยพิบัติน้ำท่วม และการบรรเทา
น้ำท่วม (flood) หมายถึง ภัยพิบัติที่เกิดจากน้ำพื้นผิวมีปริมาณเกินกว่าทีร่องน้ำจะรองรับได้ ทำให้น้ำเอ่อล้นออกจากร่องน้ำ สร้างความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์ โดยภัยพิบัติน้ำท่วมนั้นเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ และส่งผลต่อแตกต่างกัน ได้แก่ 1) น้ำท่วมจาก พายุฝนฟ้าคะนอง (thunder storm) ทำให้เกิดน้ำหลากจากต้นน้ำลงมาอย่างรวดเร็ว หรือเรียกว่า น้ำท่วมฉับพลัน (flash flood) แต่จะท่วมเพียง ...
น้ำหนุน กรุงเทพ ฯ เกิดยังไง ?
นอกจากมวลน้ำทางตอนเหนือที่มีโอกาสไหลบ่าและท่วมพื้นที่ราบลุ่มตอนล่างของภาคกลาง ประเทศไทย กรุงเทพ ฯ และจังหวัดต่างๆ ทางตอนล่างที่มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านก็มีโอกาสได้รับภัยพิบัติทางน้ำ เพิ่มอีกหนึ่งรูปแบบ ซึ่งก็คือ น้ำล้นตลิ่ง หรือที่ชาวบ้านทั่วไปเรียกว่า น้ำหนุน ซึ่งมักจะเกิดในช่วง 2 เดือนสุดท้าย ปลายปี คือ พฤศจิกายน และธันวาคม และด้วยความที่สังคมออนไลน์ทุกวันนี้ค่อนข้างจะรวดเร็ว ทำให้เหตุการณ์น้ำหนุนล่าสุดในปี ...